วันอังคารที่ 27 สิงหาคม พ.ศ. 2556

จำแนกสติปัญญา(I.Q.)ของบุคคล

อัลเฟรด บิเนต์(Alfred Binet) ได้จำแนกสติปัญญา(I.Q.)ของบุคคลออกได้ดังนี้ ระดับไอคิว ระดับสติปัญญา ต่ำกว่า 70 ปัญญาอ่อน(Retarded) 71- 80 คาบเส้น(Borderline) 81- 90 ปัญญาทึบ(Dull) 91- 110 เกณฑ์ปกติ(Normal) 111-120 ค่อนข้างฉลาด(Superior) 121-140 ฉลาดมาก(Very Superior) 141- ขึ้นไป อัจฉริยะ(Genius)

วันจันทร์ที่ 26 สิงหาคม พ.ศ. 2556

การจัดลำดับความสำคัญของการทำงานดังนี้

การจัดลำดับความสำคัญของการทำงานมี 4 ประการ ดังนี้ 1. First Come First Server = FCFS โดยให้ทำงานที่เข้ามาก่อนเป็นอันดับแรก 2. Shontage Processing Time=SPT การทำงานโดยให้ทำงานที่ใช้เวลาสั้นที่สุดก่อน 3. Earliest Due Date=EDD ให้ทำงานที่มีกำหนดส่งมอบเร็วที่สุดก่อน 4. Longest Processing Time = LPT ทำงานที่ใช้เวลามากที่สุดเป็นอันดับแรกแล้วจึงค่อย ทำงานที่มีกำหนดส่งมอบนานกว่าเป็นลำดับถัดไป

วันจันทร์ที่ 19 สิงหาคม พ.ศ. 2556

รวมคำถามท้ายบทจิตวิทยาอุตสาหกรรม

วิชาจิตวิทยาอุตสาหกรรม ตอนที่ 1 จงทำเครื่องหมายกากบาท () ลงหน้าข้อที่ถูกต้องที่สุด 1. จิตวิทยา (Psychology) ข้อใดหมายถึง “การศึกษา” ตามที่มาในภาษากรีก ก. Psyche ข. Soul ค. Mind ง. Logos 2. ข้อใดให้ความหมายของคำว่า “จิตวิทยา” ได้ถูกต้องมากที่สุด ก. หมายถึงการศึกษาเรื่องจิตโดยเฉพาะ ข. หมายถึงการศึกษาพฤติกรรมของคน และสัตว์ ค. หมายถึงการศึกษาศาสตร์ซึ่งเป็นบิดาแห่ง พฤติ กรรม ง. หมายถึงการศึกษาที่จะช่วยพยากรณ์และควบคุมพฤติกรรมต่าง ๆ 3. การนำหลักการทางจิตวิทยาและวิทยาศาสตร์มาประยุกต์ใช้ในการทำงาน คือคุณสมบัติของข้อใด ก. จิตวิทยาอุตสาหกรรม ข. จิตวิทยาด้านองค์การ ค. จิตวิทยาด้านวิชาการ ง. จิตวิทยาด้านแนะแนว 4. ผู้ที่ศึกษาจิตวิทยาอุตสาหกรรม ควรมีจรรยาบรรณเช่นใด ก. มีความรอบคอบ ข. มีสติปัญญาตรวจสอบ ค. ต้องมีจรรยาบรรณไม่หรอกล่อ ง. มีความรับผิดชอบต่อการทำงาน 5. จากข้อความที่ว่า Make the job fit the man มีความหมายตรงกับข้อใดในงานอุตสาหกรรมมากที่สุด ก. ประสิทธิภาพสูงสุดในการทำงาน ข. เลือกคนให้เหมาะสมกับงาน ค. พฤติกรรมของคนกลุ่มทำงาน ง. การรับผิดชอบและมาทำงานตรงตามเวลา 6. นักจิตวิทยาผู้ตั้งทฤษฎีการเรียนรู้ความจำเป็นของมนุษย์และสัตว์ต่าง ๆ จนเป็นที่ยอมรับกัน คือผู้ใด ก. Wilhelm Wunolt ข. E.L Thorndike ค. Ivan Pavlov ง. John B. Watson 7. การสร้างความเข้าใจกับบริษัทอุตสาหกรรม องค์กรที่มีประสิทธิภาพ ความคิดริเริ่ม และ การปรับตัว คือคุณสมบัติข้อใด ก. ลักษณะและความสำคัญของจิตวิทยาอุตสาหกรรม ข. ประเภทของจิตวิทยาอุตสาหกรรมในงานอาชีพ ค. การแข่งขันทางด้านโลกธุรกิจอุตสาหกรรม ง. การขยายตัวอย่างไม่หยุดยั้งของโลกอุตสาหกรรม 8. สาเหตุที่จิตวิทยาถูกจัดว่าเป็นศาสตร์เชิงวิทยาศาสตร์แขนงหนึ่งเพราะเหตุใด ก. เพราะสามารถเรียนรู้ได้ทุก ๆระดับชั้น ข. เพราะสามารถตรวจสอบจากรูปแบบวิธีการ ค. เพราะสามารถปรับปรุงเปลี่ยนแปลงได้ตามเหตุการณ์ ง. เพราะสามารถพิสูจน์ได้ด้วยการสังเกตทดลอง 9. ในการทำงานย่อมมีพฤติกรรมทั้งดีใจและเสียใจ เช่น หัวเราะ ร้องไห้ จัดอยู่ในข้อใด ก. Overt Behavior ข. Covert Behavior ค. Behavior ง. Molecular Behavior 10. เมื่อทำงาน มีการแสดงความรู้สึกนึกคิด อารมณ์ ทัศนคติ ความจำ ความฝันและการลืม คือคุณสมบัติตามข้อใด ก. Behavior ข. Molar Behavior ค. Overt Behavior ง. Covert Behavior (ที่มา ดร.นิเวศน์ วงค์สุวรรณ์ วิชา จิตวิทยาอุตสาหกรรม สำนักพิมพ์ศูนย์ส่งเสริมวิชาการ) ตอนที่ 2 จงตอบคำถามต่อไปนี้ให้ได้ใจความสมบูรณ์ 1. เพราะเหตุใดจิตวิทยาจึงจัดเป็นวิทยาศาสตร์ จงอธิบาย ตอบ 2. จิตวิทยา ศึกษาถึงพฤติกรรมของมนุษย์และสัตว์ได้อย่างไร จงอธิบาย ตอบ 3. การศึกษาจิตวิทยา กระทำได้กี่วิธี อะไรบ้าง จงอธิบาย ตอบ 4. จิตวิทยา มีกี่สาขา อะไรบ้าง จงอธิบาย ตอบ 5. หน้าที่ของนักจิตวิทยาอุตสาหกรรม มีอะไรบ้าง จงอธิบาย ตอบ ตอนที่ 1 จงทำเครื่องหมายกากบาท () ลงหน้าข้อที่ถูกต้องที่สุด 1. ข้อใดมีความสัมพันธ์กับข้อความที่ว่า“เราจำเป็นต้องมีการติดต่อสัมพันธ์กับผู้อื่น ในกลุ่มมนุษย์ด้วยกัน” มากที่สุด ก. โลกของการทำงาน ข. โลกของอุตสาหกรรม ค. โลกของความแตกต่าง ง. โลกของสิ่งมีชีวิต 2. การประยุกต์จิตวิทยาในองค์การอุตสาหกรรมดำเนินการขึ้นเพื่อเป้าหมายอะไร ก. เพื่อเข้าใจผู้อื่น ข. เพื่อให้เห็นความแตกต่าง ค. เพื่อจะได้ทำความเข้าใจพฤติกรรมคนในสังคม ง. เพื่อสนองความต้องการและการดำเนินชีวิต 3. ข้อใดถูกต้องที่สุดกับคำว่า “เป็นศูนย์กลางติดต่อประสานงานและเจริญก้าวหน้า” ก. สังคมเมือง ข. สังคมชนบท ค. โรงงานอุตสาหกรรม ง. สังคมอุตสาหกรรม 4. การศึกษาค้นคว้าและจัดระเบียบแบบใช้วิธีทางวิทยาศาสตร์เป็นเครื่องมือวิเคราะห์ ข้อใดถูกต้องที่สุด ก. กระบวนการทางสังคม ข. โครงสร้างทางสังคม ค. สังคมยุคโลกาภิวัฒน์ ง. สังคมเกษตรกรรม 5. การสร้างจิตสำนึกองค์ประกอบโครงสร้างของสังคม สาเหตุและผลกระทบที่เกิดขึ้นควรเป็นเรื่องใด ก. เรื่องสังคมวิทยา ข. เรื่องของสังคมมนุษย์ ค. เรื่องของสังคมเมือง ง. เรื่องของสังคมชนบท 6. ผู้ให้การศึกษาด้านคณิตศาสตร์และวิทยาศาสตร์ธรรมชาติที่เรียกว่า “สังคมฟิสิกส์” เพราะเชื่อว่าสังคมจะให้การศึกษาเหมือนกัน คือใคร ก. คาร์ล มาร์ก ข. แฮร์มาร์ท สเปนเซอร์ ค. แมกซ์ เวเมอร์ ง. ออกัส ค้องท์ 7. การศึกษาโครงสร้างสังคมตั้งแต่ประวัติความเป็นมาภายในสังคม ที่ประกอบด้วยสถาบันต่าง ๆ เรียกว่า ก. สังคมพลวัต ข. สังคมสถิตย์ ค. สังคมเศรษฐกิจ ง. สังคมเกษตรกรรม 8. การศึกษาสังคมทั้งระบบ โดยการศึกษาค้นคว้าวิเคราะห์จากข้อมูลการเปลี่ยนแปลงทางสังคม เรียกว่า ก. สังคมพลวัต ข. สังคมสถิตย์ ค. สังคมเศรษฐกิจ ง. สังคมเกษตรกรรม 9. ผู้ให้แนวคิดทฤษฎีวัตถุนิยมสิ่งต่าง ๆ มีการเคลื่อนไหว การเปลี่ยนแปลงทุกอย่างไม่เป็นไปอย่างราบรื่นเสมอ คือผู้ใด ก. แฮร์มาร์ท สเปนเซอร์ ข. แมกซ์ เวเมอร์ ค. คาร์ล มาร์กซ์ ง. ออกัส ค้องท์ 10. การรู้จักและเข้าใจธรรมชาติของมนุษย์ ลักษณะและรูปแบบของสังคม สภาพของสังคม คือคุณสมบัติของข้อใด ก. กำเนิดสังคมมนุษย์ ข. ธรรมชาติของมนุษย์ ค. โครงสร้างของมนุษย์ ง. ประโยชน์ของการศึกษาสังคมมนุษย์ 11. อริสโตเติ้ล ให้แนวคิดว่า สิ่งที่มนุษย์มีรูปร่างลักษณะของร่างกายเหมือนกับสัตว์อื่นประเภทที่เลี้ยงลูกด้วยนม มีธรรมชาติแห่งการดำรงชีวิต หมายถึงข้อใด ก. มนุษย์เป็นสัตว์สังคม ข. มนุษย์เป็นสัตว์โลก ค. มนุษย์เป็นสัตว์ประเสริฐ ง. มนุษย์เป็นสัตว์โดยธรรมชาติ 12. เพราะมนุษย์เป็นสัตว์ที่มีลักษณะพิเศษ มีศักยภาพ มีความรับผิดชอบ มีสติปัญญา และมีวัฒนธรรมที่ดีงาม เพราะมีจิตใจสูง หมายถึงข้อใด ก. มนุษย์เป็นสัตว์โลก ข. มนุษย์เป็นสัตว์สังคม ค. มนุษย์เป็นสัตว์โดยธรรมชาติ ง. มนุษย์เป็นสัตว์ประเสริฐ 13. สิ่งที่มนุษย์และสัตว์มีธรรมชาติเหมือนกัน ได้แก่อะไรบ้าง ก. กิน – เก็บ – นอน – หลบภัย ข. กิน – นอน – สืบพันธุ์ – หลบภัย ค. กิน – นอน – เก็บ – หลบภัย ง. กิน – นอน – เก็บ – สืบพันธุ์ 14. ข้อใดสำคัญที่สุดที่ทำให้มนุษย์มีความแตกต่างจากสัตว์ ก. มนุษย์มีทักษะในการใช้มือและเท้า ข. มนุษย์มีร่างกายตั้งตรงกับพื้นโลก ค. มนุษย์มีสติปัญญาอยู่ในระดับสูงกว่าสัตว์ ง. มนุษย์มีการดำเนินชีวิตที่เป็นระบบและ มีความซับซ้อน 15. สิ่งที่เกิดจากความต้องการขั้นพื้นฐานทางชีวภาพความต้องการขั้นสูง เช่น ความรัก ความสำเร็จ เป็นแนวคิดของใคร ก. ซิกมันต์ ฟรอยด์ ข. อับราฮัม มาสโลว์ ค. แมกซ์ เวเมอร์ ง. วิลแฮมล์ วุ้นด์ ตอนที่ 2 จงตอบคำถามต่อไปนี้ให้ได้ใจความสมบูรณ์ 1. มนุษย์และสังคมมนุษย์ในฐานะนักสังคมวิทยา หมายถึงอะไร จงอธิบาย ตอบ 2. มนุษย์ในองค์การอุตสาหกรรม หมายถึงอะไร จงอธิบาย ตอบ 3. ประโยชน์ของการศึกษาสังคมมนุษย์คืออะไร มีอะไรบ้าง จงอธิบาย ตอบ 4. กำเนิดสังคมมนุษย์ คืออะไร มีอะไรบ้าง จงอธิบาย ตอบ 5. ธรรมชาติของมนุษย์คืออะไร มีอะไรบ้าง จงอธิบาย ตอบ 1. ต่อต้านการเปลี่ยนแปลง ตอนที่ 1 จงทำเครื่องหมายกากบาท () ลงหน้าข้อที่ถูกต้องที่สุด 1. พฤติกรรมที่สามารถสังเกตเห็นได้โดยทั่วไปจากคณะบุคคลที่อยู่รอบตัวเราในชีวิตประจำวัน คือข้อใด ก. ความแตกต่างระหว่างบุคคล ข. ความสามารถเฉพาะบุคคล ค. ความมีทักษะเฉพาะบุคคล ง. ความมีเจตคติเฉพาะบุคคล 2. ข้อความต่อไปนี้ตรงกับความหมายใดมากที่สุด “put a right man in a right job” ก. การเลือกงานให้ถูกกับคน ข. การเลือกคนให้ถูกกับงาน ค. ความสามารถในการเลือกงาน ง. ความมีทักษะในโลกของงานอาชีพ 3. เพราะมีความแตกต่างกัน ซึ่งมีอิทธิพลมาจากสิ่งแวดล้อมและพันธุกรรม จึงทำให้แต่ละบุคคลเป็นเช่นใด ก. แสดงความเด่นที่แตกต่างกัน ข. แสดงความด้อยที่แตกต่างกัน ค. แสดงพฤติกรรมที่ไม่เหมือนกัน ง. แสดงพฤติกรรมที่มีประสิทธิภาพ 4. ความแตกต่างระหว่างบุคคลที่มีสาเหตุมาจากพันธุกรรมและสิ่งแวดล้อม จะมีอิทธิพลอะไรต่อมนุษย์บ้าง ก. กำหนดเผ่าพันธุ์ของคน ข. กำหนดลักษณะเด่นของคน ค. กำหนดลักษณะด้อยของคน ง. กำหนดบุคลิกลักษณะของคน 5. ในการทำงาน ในความเหมือนย่อมมีความแตกต่าง และในความแตกต่างย่อมมี ความเหมือน น่าจะตรงกับข้อใดมากที่สุด ก. ความแตกต่างระหว่างบุคคลที่สัมพันธ์กับงาน ข. ความแตกต่างระหว่างบุคคลในด้านสมรรถภาพ ค. ความแตกต่างระหว่างบุคคลในด้านความสนใจงาน ง. ความแตกต่างระหว่างบุคคลในด้านผลผลิตของงาน 6. การพัฒนาเครื่องมือเครื่องใช้ เทคโนโลยีและนวัตกรรมใหม่ ๆ เพื่อเหตุผลข้อใด ก. เพื่อพัฒนาการอุตสาหกรรมโดยตรง ข. เพื่อให้เหมาะสมและเกิดทักษะทางวิชาชีพ ค. เพื่อเพิ่มผลผลิตและใช้เป็นสินค้าแลกเปลี่ยน ง. เพื่อกระจายระบบการบริหารจัดการโดยเฉพาะ 7. พนักงานมีความสำคัญตามความสามารถของงานที่ทำด้วยความพึงพอใจคือประโยชน์ของความแตกต่างด้านใด ก. ด้านขององค์กร ข. ด้านของการยังชีพ ค. ด้านการยอมรับ ง. ด้านของบุคคล 8. คำกล่าวต่อไปนี้คือ “การทำนา ทำสวน หรือการทำงานจะเป็นการพัฒนาคุณภาพชีวิตของคน” และการเจริญเติบโตขององค์กร ตรงกับเหตุผลในข้อใด ก. ด้านขององค์กร ข. ด้านของการยังชีพ ค. ด้านของบุคคล ง. ด้านของการยอมรับจากสังคม 9. การกระทำใด ๆ อย่างต่อเนื่องจากบรรพบุรุษช่วงอายุรุ่นหนึ่งไปสู่อีกรุ่นหนึ่ง โดยผ่านเซลล์พ่อกับแม่ไปสู่ลูก พฤติกรรมดังกล่าวเรียกว่าอะไร ก. การแสดงความคิดเห็น ข. การถ่ายทอดทางพันธุกรรม ค. การพัฒนาการเจริญเติบโต ง. การวิวัฒนาการของสัตว์เซลล์เดียว 10. สิ่งที่เป็นตัวกำหนดเพศของทารกจะเป็นชายหรือหญิง เรียกว่าอะไร ก. ยีนส์ ข. พันธุกรรม ค. โครโมโซม ง. โฮโมนเพศ 11. ความแตกต่างทางด้านเชื้อชาติ ความแตกต่างทางเพศ ลักษณะแห่งการเจริญเติบโต หรือความบกพร่องทางร่างกาย มีสาเหตุเนื่องมาจากอะไร ก. ยีนส์ ข. โครโมโซม ค. โฮโมนเพศ ง. พันธุกรรม 12. มีคำกล่าวว่า พันธุกรรมเปลี่ยนแปลงไม่ได้ แต่สิ่งแวดล้อมอาจเปลี่ยนแปลง เพราะเหตุผล ในข้อใด ก. เพราะมนุษย์เป็นสัตว์ประเสริฐ ข. เพราะมนุษย์มีการปรับตัวอยู่เสมอ ค. เพราะมนุษย์เป็นสัตว์สังคม ง. เพราะมนุษย์มีเหตุผลที่ดีกว่า 13. สภาพแวดล้อมที่เป็นแหล่งส่งเสริมทรัพยากร ที่ทรงคุณค่าของมนุษย์ ให้เกิดความรู้ความสามารถ ได้แก่ด้านใด ก. ด้านสถาบันครอบครัว ข. ด้านการคบเพื่อน ค. ด้านสถาบันการศึกษา ง. ด้านสถาบันศาสนา 14. ด้านสถาบันการศึกษา ถือว่ามีความสำคัญ ต่อการประยุกต์หลักธรรมต่าง ๆ เพื่อนำไปใช้ ในชีวิตประจำวัน เพราะเหตุใด ก. เพื่อยึดเหนี่ยวจิตใจ ข. เพื่อเจริญความเมตตา ค. เพื่อการศึกษาและเข้าใจ ง. เพื่อประกาศกุศลธรรมกรรมที่ดี 15. จากคำกล่าวที่ว่า “อดีตก็ไม่ขยัน ปัจจุบัน ก็ไม่ขวนขวาย อนาคตไม่ต้องทำนาย” น่าจะตรงกับข้อใดมากที่สุด ก. คบคนเช่นใดย่อมเป็นคนเช่นนั้น ข. เพราะความขี้เกียจจึงเบียดเบียนเพื่อน ค. เพราะความจริงจังกับชีวิตมากเกินไป ง. เพราะความไม่รู้จักเศรษฐกิจพอเพียง ตอนที่ 2 จงตอบคำถามต่อไปนี้ให้ได้ใจความสมบูรณ์ 1. ความแตกต่างระหว่างบุคคลคืออะไร มีประโยชน์ต่อการทำงานอย่างไร มีอะไรบ้าง จงอธิบาย ตอบ 2. พันธุกรรมคืออะไร มาจากไหน และมีความแตกต่างกันด้านใดบ้าง จงอธิบาย ตอบ 3. ลักษณะการถ่ายทอดทางพันธุกรรมคืออะไร มีผลกระทบต่อการทำงานอย่างไรบ้าง จงอธิบาย ตอบ 4. นิสัยคืออะไร แตกต่างจากสติปัญญาอย่างไร ทั้งสองจะส่งผลต่อการทำงานอย่างไรบ้าง จงอธิบาย ตอบ 5. บุคคลมีความแตกต่างกันทางด้านพันธุกรรมในลักษณะใดบ้าง จงอธิบาย ตอบ (ที่มา ดร.นิเวศน์ วงค์สุวรรณ์ วิชา จิตวิทยาอุตสาหกรรม สำนักพิมพ์ศูนย์ส่งเสริมวิชาการ) ตอนที่ 1 จงทำเครื่องหมายกากบาท () ลงหน้าข้อที่ถูกต้องที่สุด 1. คนที่ชอบขาดงาน เปลี่ยนงาน หรือทำงานได้ ไม่ดี สาเหตุหนึ่งเนื่องมาจากอะไร ก. ไม่ชอบงาน ข. ไม่มีความชำนาญ ค. ขาดความพึงพอใจในการทำงาน ง. ขาดความสัมพันธ์ที่ดีในการทำงาน 2. สภาวะทางอารมณ์อันเป็นผลมาจากการประเมินบุคคลหรือประสบการณ์จากการทำงาน 1. มีขวัญและกำลังใจ 2. ความพึงพอใจในการทำงาน 3. ความเข้าใจและมีทักษะในงาน 4. การมีบทบาท ความรับผิดชอบในการทำงาน 3. รูปแบบพฤติกรรมที่มีลักษณะเด่นรวมความคิดและอารมณ์ จึงทำให้บุคคลมีความแตกต่างกัน เรียกว่าอะไร ก. อารมณ์ ข. พฤติกรรม ค. รูปร่างลักษณะ ง. บุคลิกภาพ 4. คนที่เป็นที่ชื่นชอบของสังคม เป็นความต้องการของหน่วยงานและสถาบันต่าง ๆ ที่จะรับเข้าทำงาน คือข้อใด a. บุคลิกภาพ b. บุคลิกภาพที่ดี c. บุคลิกภาพเฉพาะคน d. เป็นคนที่มีเสน่ห์ต่อมหาชน 5. ทฤษฎีบุคลิกภาพที่มีลักษณะเฉยเงียบและชอบเก็บตัว คือประเภทใด ก. ประเภทผอมสูง ข. ประเภทกำยำ ค. ประเภทอ้วนเตี้ย ง. ประเภทชอบแสดงตัว 6. การสัมภาษณ์ การสังเกต การใช้แบบสอบถามหรือแบบทดสอบ คือวิธีการแบบใด ก. การแบ่งบุคลิกภาพ ข. การประเมินบุคลิกภาพ ค. การส่งเสริมบุคลิกภาพ ง. การพัฒนาบุคลิกภาพ 7. ผู้ที่มีสุขภาพสมบูรณ์ กิริยาท่าทีอ่อนน้อม แต่งกายสุภาพ มีมารยาททางสังคมดี คือบุคคลเช่นใด ก. มีสุขภาพดี ข. มีอนามัยดี ค. มีการปรับตัวดี ง. มีบุคลิกภาพที่ดี 8. การพัฒนาความรู้สึกนึกคิด เจตคติ และความสนใจของผู้ทำงานโดยทั่วไป คือความหมายของข้อใด ก. การพัฒนาบุคลิกภาพทางกาย ข. การพัฒนาบุคลิกภาพทางสติปัญญา ค. การพัฒนาบุคลิกภาพทางการเจรจา ง. การพัฒนาบุคลิกภาพแบบโดยทั่วไป 9. บุคลิกภาพ เช่น กิริยาท่าทาง น้ำเสียง ภาษาพูด การต่างกาย และการวางตน คือการพัฒนาบุคลิกภาพแบบใด ก. การพัฒนาบุคลิกภาพทางสังคม ข. การพัฒนาบุคลิกภาพทางอารมณ์ ค. การพัฒนาบุคลิกภาพทางการศึกษา ง. การพัฒนาบุคลิกภาพทางประสบการณ์ 10. การพัฒนาแบบสร้างความเชื่อมั่น พึ่งตนเอง มีความรู้สึกมั่นคง วินิจฉัยปัญหาและตัดสินใจได้ด้วยตนเอง คือพัฒนาแบบใด ก. การพัฒนาการศึกษา ข. การพัฒนาความเป็นผู้ใหญ่ ค. การพัฒนาบุคลิกภาพโดยทั่วไป ง. การพัฒนาบุคลิกภาพในการทำงาน 11. การพัฒนาบุคลิกภาพโดยทั่วไปนั้น ข้อใดสำคัญเป็นอันดับแรก ก. การสำรวจสิ่งแวดล้อม ข. การสำรวจความรู้สึกนึกคิด ค. การสำรวจเรื่องการแต่งกาย ง. การสำรวจเรื่องความเหมาะสม 12. ความแตกต่างทางบุคลิกภาพตามชนิดของกลุ่มเลือด เช่น เป็นคนปรับตัวเก่ง ยอมรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น มีการวางแผนในการทำงาน มีความอดทน ไว้ใจได้ คือบุคคลกลุ่มใด ก. กลุ่มที่มีเลือดกรุ๊ป A ข. กลุ่มที่มีเลือดกรุ๊ป B ค. กลุ่มที่มีเลือดกรุ๊ป AB ง. กลุ่มที่มีเลือดกรุ๊ป O 13. บุคคลที่ไม่ชอบเปิดเผยเรื่องส่วนตัว ไม่ชอบทะเลาะหรือมีเรื่องขัดแย้งกับใคร ยุติธรรม ใช้ความคิดและเหตุผลมากกว่าใช้อารมณ์ คือบุคคลกลุ่มเลือดอะไร ก. กลุ่มที่มีเลือดกรุ๊ป A ข. กลุ่มที่มีเลือดกรุ๊ป B ค. กลุ่มที่มีเลือดกรุ๊ป AB ง. กลุ่มที่มีเลือดกรุ๊ป O 14. คนที่มีความทะเยอทะยาน มีความมานะไม่ท้อถอย ชอบลองของจริง มีความกล้า อดทนและไม่ย่อท้อต่ออุปสรรคต่าง ๆ คือบุคคลกลุ่มเลือดอะไร ก. กลุ่มที่มีเลือดกรุ๊ป A ข. กลุ่มที่มีเลือดกรุ๊ป B ค. กลุ่มที่มีเลือดกรุ๊ป C ง. กลุ่มที่มีเลือดกรุ๊ป O 15. ตามทฤษฎีของจุง (Jung) ได้แบ่งบุคลิกภาพของมนุษย์ออกเป็น 3 ประเภท และประเภทเดินทางสายกลาง มีชีวิตเรียบง่ายได้แก่ข้อใด ก. Introvert ข. Extrovert ค. Ambivert ง. Behavior ตอนที่ 2 จงตอบคำถามต่อไปนี้ให้ได้ใจความสมบูรณ์ 1. ความพึงพอใจในการทำงาน คืออะไร มีผลต่อการทำงานอย่างไรบ้าง จงอธิบาย ตอบ 2. บุคลิกภาพหมายถึงอะไร จงอธิบายให้ละเอียด พร้อมยกตัวอย่าง ตอบ 3. ทฤษฎีบุคลิกภาพ แบ่งออกเป็นกี่ประเภท อะไรบ้าง แตกต่างกันอย่างไร จงอธิบาย ตอบ 4. บุคลิกภาพที่ดีคืออะไร มีอะไรบ้าง จงอธิบายพร้อมยกตัวอย่าง ตอบ 5. บุคลิกภาพไม่ดี คืออะไร มีอะไรบ้าง จงอธิบายพร้อมยกตัวอย่าง ตอบ ตอนที่ 1 จงทำเครื่องหมายกากบาท () ลงหน้าข้อที่ถูกต้องที่สุด 1. ข้อใดให้ความหมายของการสื่อสารได้ครอบคลุมมากที่สุด ก. สังคมจะหยุดนิ่งถ้าขาดการติดต่อสื่อสาร ข. มนุษย์จะมีการแลกเปลี่ยนความคิดเห็น ต่าง ๆ ค. การแลกเปลี่ยนความหมายระหว่างบุคคลตั้งแต่ 2 คนขึ้นไป ง. คือความปรับปรุงพัฒนาเพื่อเพิ่มความสำเร็จในเรื่องของงาน 2. “ถ้อยคำอันสุนทร คืออาภรณ์แห่งการสื่อสาร” สมเหตุสมผลตามความหมายข้อใด ก. เนื่องจากการสื่อสารมีทุกหนทุกแห่ง ข. เนื่องจากชีวิตการทำงานและการดำรงชีวิต ค. เนื่องจากการทำงานส่วนใหญ่ต้องใช้ การสื่อสาร ง. เนื่องจากการสื่อสารคือตัวแสดงบทบาทที่สำคัญ 3. การสร้างความเข้าใจจากบุคคลหนึ่งไปยังอีกบุคคลหนึ่ง หรือหน่วยงานหนึ่ง คือเหตุผลของข้อใด ก. การติดต่อสื่อสาร ข. ปากคือทูตทุก ๆ อย่าง ค. กระบวนการติดต่อสื่อสาร ง. การสื่อสารโดยอวจนะภาษา 4. การที่องค์กรแจ้งข้อมูลข่าวสาร เพื่อประเมินผลการทำงาน เพื่อแนะแนวทางและสั่งการเพื่อกระตุ้นและจูงใจ เพื่อสร้างความสัมพันธ์ คือเป้าหมายตามข้อใด ก. การติดต่อสื่อสาร ข. การกระจายข่างสาร ค. เป้าหมายของการสื่อสาร ง. วัตถุประสงค์ของการติดต่อสื่อสาร 5. การรู้จักรับฟัง การช่วยให้ผู้อื่นคิดแก้ปัญหา ได้เอง การช่วยให้ผู้อื่นมีความรับผิดชอบ การต่อรอง และการรู้จักวิเคราะห์ปัญหา คือเป้าหมายตามข้อใด 1. เทคนิคและวิธีการติดต่อสื่อสาร 2. วัตถุประสงค์ของการติดต่อสื่อสาร 3. ประโยชน์ของการติดต่อสื่อสาร 4. การวิเคราะห์สาระของการติดต่อสื่อสาร 6. การแจ้งข้อมูลข่าวสาร การกระตุ้นและจูงใจ การประเมินผลการทำงาน การสร้างความสัมพันธ์ในหมู่คณะเพื่อวินิจฉัยสั่งการ คือเป้าหมายตามข้อใด ก. เทคนิคและวิธีการติดต่อสื่อ ข. ประโยชน์ของการติดต่อสื่อสาร ค. วัตถุประสงค์ของการติดต่อสื่อสาร ง. การวิเคราะห์สาระของการติดต่อสื่อสาร 7. จากคำกล่าวที่ว่า “กุญแจที่สำคัญยิ่งในการทำงานของผู้บริหาร คือการจูงใจ” หมายถึง ข้อใด ก. ทฤษฎีการจูงใจ ข. ธรรมชาติทั่วไปของการจูงใจ ค. ความหมายของการจูงใจ ง. เป้าหมายเพื่อถ่ายทอดการจูงใจ 8. แรงจูงใจคือตัวแปรหนึ่งที่เกิดขึ้นได้ตลอดเวลา เพราะมนุษย์มีความต้องการ มีแรงจูงใจ มีแรงขับ และมีเป้าหมายของพฤติกรรม ตรงกับ ข้อใดมากที่สุด ก. แรงขับ ข. แรงจูงใจ ค. ความต้องการ ง. องค์ประกอบของแรงจูงใจ 9. สาเหตุที่สำคัญประการหนึ่ง คือองค์การ ไม่สามารถสร้างแรงจูงใจที่จะทำให้คนงาน มีความรู้สึกที่ดีต่อองค์การได้เลย คือที่มาของข้อใด ก. มูลเหตุที่ทำให้เกิดการจูงใจในการทำงาน ข. ทำให้คนงานมีความรู้สึกว่ามีคุณค่าและปลอดภัย ค. ทำให้คนงานมีความรู้สึกว่าตนเองมีความสามารถ ง. ทำให้คนงานมีความรู้สึกว่ามีอำนาจและความผูกพัน 10. ข้อแตกต่างของผู้บริหารแบบ X มีแนวโน้มที่จะจูงใจพนักงานด้วยวินัยและการลงโทษ ถือว่าเป็นการสร้างแรงจูงใจแบบใด ก. แรงจูงใจจากภายใน ข. แรงจูงใจจากภายนอก ค. แรงจูงใจแบบใช้กฎเหล็ก ง. แรงจูงใจแบบมีจินตนาการ 11. ผู้บริหารแบบ Y มีแนวการบริหารแบบสมมติฐานที่เกี่ยวกับธรรมชาติของมนุษย์และแรงจูงใจ ถือว่าเป็นการสร้างแรงจูงใจ โดยอาศัยปัจจัยแบบใด ก. อาศัยปัจจัยจากภายใน ข. อาศัยปัจจัยจากภายนอก ค. อาศัยปัจจัยแบบใช้กฎเหล็ก ง. อาศัยปัจจัยแบบใช้จินตนาการ 12. การบริหารงานแบบมีระบบการจ้างงาน ตลอดชีพ ทำงานเป็นกลุ่ม มีระบบการตัดสินใจ ไม่ขาดความรับผิดชอบ ยึดถือผลสำเร็จเป็นหลักในการทำงาน เชื่อมั่นต่อฝ่ายจัดการ คือระบบการจูงใจแบบใด ก. แบบไทย ข. แบบจีน ค. แบบประเทศยุโรป ง. แบบประเทศญี่ปุ่น 13. ข้อต่อไปนี้คือจักษุสัมผัส โสตสัมผัส กายสัมผัส รสสัมผัส เป็นคุณสมบัติใด ขององค์ประกอบของการสื่อสาร ก. ข่าวสาร ข. ผู้ส่งสาร ค. ผู้รับสาร ง. ช่องสัญญาณ 14. ปัจจัยที่ทำให้เกิดทัศนคติ เช่น ปัจจัยด้านบุคคล ปัจจัยด้านงาน ปัจจัยด้านการจัดการ และปัจจัยด้านสภาพแวดล้อม หมายถึงข้อใด ก. ปัจจัยที่ทำให้เกิดความพึงพอใจในการทำงาน ข. ปัจจัยที่จำนวนสมาชิกต้องร่วมกันรับผิดชอบ ค. ปัจจัยที่ทำให้เกิดทักษะและความเข้าใจในการทำงาน ง. ปัจจัยที่กำหนดแรงเสริมบวกแบบอัตราส่วนที่แน่นอน 15. ความชัดเจนของงานที่สามารถอธิบายชี้แจงจุดประสงค์ รายละเอียด ตลอดจนแนวทางการปฏิบัติงาน คือข้อใด ก. ฐานะทางอาชีพ ข. ลักษณะของงาน ค. โครงสร้างของงาน ง. ขนาดของหน่วยงาน ตอนที่ 2 จงตอบคำถามต่อไปนี้ให้ได้ใจความสมบูรณ์ 1. การติดต่อสื่อสารหมายถึงอะไร มีความสำคัญต่อการบริหารงานหรือไม่อย่างไร จงอธิบาย ตอบ 2. เทคนิคในการติดต่อสื่อสารคืออะไร และประโยชน์ของการติดต่อสื่อสารมีอะไรบ้าง จงอธิบาย ตอบ 3. การจูงใจคืออะไร มีองค์ประกอบที่สำคัญอย่างไรบ้าง จงอธิบาย ตอบ 4. มูลเหตุที่ทำให้เกิดการจูงใจในการทำงานคืออะไร มีอะไรบ้าง จงอธิบาย ตอบ 5. ทฤษฎีแรงจูงใจคืออะไร มีประโยชน์ต่อการทำงานอย่างไร จงชี้แจงพร้อมยกทฤษฎีประกอบ ตอบ ตอนที่ 1 จงทำเครื่องหมายกากบาท () ลงหน้าข้อที่ถูกต้องที่สุด 16. องค์กรจะเจริญก้าวหน้า ถ้าได้รับการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ในองค์กร หมายถึงอะไร ก. ความสามัคคีในองค์กร ข. ความสามารถในองค์กร ค. ความมีขวัญและกำลังใจที่ดีในองค์กร ง. ความเข้าใจบทบาทหน้าที่ในองค์กร 17. พนักงานมีความรัก มีความพึงพอใจ และผูกพันกับสถานที่ทำงาน ตรงกับเหตุผลข้อใดมากที่สุด ก. การพัฒนาทรัพยากรบุคคล ข. การรักษาทรัพยากรบุคคล ค. การเพิ่มสวัสดิการทรัพยากรบุคคล ง. การจัดสรรทรัพยากรบุคคล 18. การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ ตั้งแต่การคัดเลือกคน ใช้คนให้เหมาะสมกับงาน การสร้างแรงจูงใจ การพัฒนาบุคลากร การเพิ่มค่าจ้าง ตรงกับข้อความใดมากที่สุด ก. การจัดสรรคนให้เข้ากับงาน ข. การจัดงานให้เหมาะกับคน ค. การจูงใจคนให้พร้อมทำงาน ง. ได้ทั้งงานได้ทั้งคน 19. การมุ่งสนับสนุนและเสริมสร้างศักยภาพของพนักงานให้เกิดการเรียนรู้ในวิทยาการใหม่ ๆ ตรงกับความหมายในข้อใดมากที่สุด ก. การพัฒนา ข. การจูงใจ ค. การสร้างขวัญ ง. การเสริมแรง 20. การเป็นผู้รู้จักประสานงานกับทุกส่วน โดยพยายามดึงเอาความสามารถเฉพาะตัวของสมาชิกออกมาใช้ให้เหมาะกับกาลเทศะ คือคุณสมบัติข้อใด ก. การพัฒนาธุรกิจอุตสาหกรรม ข.การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ ค.การพัฒนาความเปลี่ยนแปลง ง. การพัฒนาธุรกิจโดยมนุษย์ 21. สิ่งที่เกิดขึ้นอย่างรวดเร็วทั้งในด้านเศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรม การเมือง สภาพแวดล้อม มีผลมาจากการพัฒนาด้านใดมากที่สุด ก. การพัฒนาด้านคุณธรรม ข.การพัฒนาด้านเทคโนโลยี ค.การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ในด้านการศึกษา ง.การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ในด้านการฝึกอบรม 22. การจัดโปรแกรมการฝึกอบรมและพัฒนาที่ต้องมีการสำรวจวิเคราะห์ความต้องการและข้อบกพร่องต่าง ๆ จัดอยู่ในข้อใด ก.การวางแผน ข.การรณรงค์และส่งเสริม ค.การเลือกสถานที่ฝึกงาน ง.การเลือกวิทยากรและการจูงใจ 23. คุณลักษณะที่มีความรอบรู้ที่จะให้การฝึกอบรมดี ใช้ภาษาที่ชัดเจน เข้าใจง่าย ให้ความรู้ในสาขานั้น ๆ ได้ดี คือคุณสมบัติข้อใด ก.เทคนิคการจูงใจ ข.การรณรงค์ส่งเสริม ค.การคัดเลือกวิทยากร ง.การเลือกสถานที่ฝึกอบรม 24. รูปแบบและวิธีการฝึกอบรมพัฒนาโดยการประเมินผลงานที่เป็นจุดอ่อน จุดแข็ง โอกาส และอุปสรรคของพนักงาน เรียกว่าอะไร ก.Coaching ข.Job Instruction ค.Job Assignment ง.SWOT Analysis 25. การแสดงพฤติกรรมของบุคคล เพื่อประกอบอาชีพทางด้านอุตสาหกรรม ได้รับการยอมรับและมีส่วนร่วมในการทำงาน คือองค์ประกอบของข้อใด ก.ขวัญในอุตสาหกรรม ข.การพัฒนาขวัญที่ดี ค.การประเมินขวัญที่ดี ง.การเสริมสร้างขวัญที่ดี 26. ลักษณะการปกครอง บังคับบัญชา ความสัมพันธ์ระหว่างผู้บริหารกับคนงานที่มีหลักเกณฑ์ในการบริหาร คือตัวบ่งชี้ด้านใด ก.สิ่งที่มีความก้าวหน้า ข.สิ่งที่เป็นตัวกำหนดขวัญ ค.สิ่งที่เกิดขึ้นจากขวัญ ง.สิ่งที่เกิดขึ้นจากความเชื่อมั่น 27. ปัจจัยที่สำคัญในการสร้างขวัญและกำลังใจให้แก่องค์การ ข้อใดสำคัญที่สุด ก.ความพึงพอใจในงาน ข.ระบบค่าตอบแทนในการทำงาน ค.ความเจริญก้าวหน้าในสาขาอาชีพ ง.สภาพแวดล้อมและสุขภาพความงาม 28. การที่คนงานมีความเชื่อมั่น มีความตั้งใจ และมีทัศนคติพร้อมที่จะเสียสละในการทำงานเพื่อองค์กรอย่างต่อเนื่องบ่งบอกถึงข้อใด ก.การมีขวัญและกำลังใจ ข.การมีแรงจูงใจที่ดี ค.การมีความสามัคคีในหมู่คณะ ง.การมีอาการของขวัญที่ดี 29. เมื่อพนักงานรู้สึกเบื่อหน่าย เฉื่อยชา ไม่สนใจต่อความเคลื่อนไหวใด ๆ แสดงว่าเกิดอะไรขึ้น ก.อาการเสียหน้าอย่างแรง ข.อาการของขวัญที่ไม่ดี ค.อาการเสียความรู้สึก ง.อาการเสียความเชื่อมั่น 30. การใช้แบบสอบถาม การสัมภาษณ์ การสังเกต และการใช้สังคมมิติ คือวิธีการในประเด็นใด ก.การให้คนงานเห็นความสำคัญ ข.เกิดการตื่นตัวและเตรียมพร้อม ค.วิธีการเพิ่มขวัญบุคลากรในการทำงาน ง.วิธีการประเมินขวัญในการทำงาน ตอนที่ 2 จงตอบคำถามต่อไปนี้ให้ได้ใจความสมบูรณ์ 6. การพัฒนาคืออะไร มีความสำคัญอย่างไรต่อการทำงาน จงอธิบาย ? ตอบ 7. ขวัญในอุตสาหกรรม คืออะไร มีอะไรบ้าง จงอธิบาย ? ตอบ 8. สิ่งที่เป็นตัวกำหนดขวัญ คืออะไร มีความสำคัญอย่างไร มีอะไรบ้าง จงอธิบาย ? ตอบ 9. การประเมินขวัญในการทำงาน คืออะไร มีวิธีการใดบ้าง จงอธิบาย ตอบ 10. ลักษณะของพนักงานที่มีขวัญที่ดีและไม่ดี มีผลต่อการทำงานอย่างไร มีอะไรบ้าง จงชี้แจง ตอบ ตอนที่ 1 จงทำเครื่องหมายกากบาท () ลงหน้าข้อที่ถูกต้องที่สุด 1. บุคคลจะต้องอยู่ในสภาพแวดล้อมที่ทำงาน ทุก ๆ วัน อย่างน้อยวันละกี่ชั่วโมง ก. 8 ชั่วโมง ข. 9 ชั่วโมง ค. 10 ชั่วโมง ง. 12 ชั่วโมง 2. การสร้าสงความรู้สึกที่มีต่อการทำงานของ แต่ละคนให้มีความคิดสร้างสรรค์ เรียกว่าอะไร ก. ชนิดและขนาดของงาน ข. จำนวนและปริมาณของงาน ค. การจัดสภาพแวดล้อมในการทำงาน ง. อุปกรณ์อำนวยความสะดวกในการทำงาน 3. สภาพแวดล้อมในการทำงานที่ดีพิจารณาได้จากหลายปัจจัย และปัจจัยที่สำคัญที่สุดคือข้อใด ก. สถานที่ทำงาน ข. เพื่อนร่วมงาน ค. ชนิดของงาน ง. ช่วงเวลาทำงาน 4. การสร้างความสัมพันธ์อันดีระหว่างเพื่อนร่วมงาน ข้อใดถูกต้องที่สุด ก. มีความร่วมมือที่ดี ข. มีการมอบหมายงานที่ดี ค. มีการประสานงานที่ดีเลิศ ง. มีการทำงานร่วมกันแบบประชาธิปไตย 5. การทำงานร่วมกันทุกคนต้องให้ความไว้วางใจซึ่งกันและกัน มีการให้เกียรติ ไม่ก้าวก่ายเกินหน้าที่ คือความหมายใด ก. เชื่อในความสามารถซึ่งกันและกัน ข. ไว้วางใจในบทบาทหน้าที่ซึ่งกันและกัน ค. ปล่อยให้เป็นหน้าที่ของกันและกัน ง. การแสดงบทบาทหน้าที่ในงานอุตสาหกรรม 6. การทำงานและอยู่ร่วมกันในกลุ่ม ย่อมทำให้เกิดความสุขในกลุ่มได้ หมายถึงข้อใด ก. การลงแขกทำงาน ข. การช่วยเหลือกลุ่มงาน ค. การช่วยเหลือเพื่อนร่วมงาน ง. การช่วยเหลือเลือกที่รักมักที่ชัง 7. การทำงานร่วมกันที่เอื้อเฟื้อต่อการมีมนุษย์สัมพันธ์ที่ดี มีส่วนร่วมในกลุ่มที่ดี หมายถึง ข้อใด ก. วิธีดำเนินงานกลุ่ม ข. ลักษณะของงานกลุ่ม ค. การประสานงานระหว่างกลุ่ม ง. คุณภาพของการระบบงานที่เหมาะสม 8. การทำงานที่ต่ำกว่าความสามารถ ขาดเสถียรภาพสับสนขัดแย้ง ไม่เปิดใจยอมรับงาน จัดอยู่ในสภาวะใด ก. ธรรมชาติของงาน ข. แล้วแต่ชนิดของงาน ค. ความกังวลหรือหงุดหงิด ง. ความเครียดในการทำงาน 9. ข้อใดให้ความหมายของผู้นำได้ดีที่สุด ก. ผู้นำคือผู้บริหารที่มีตำแหน่งใหญ่โต ข. ผู้นำคือผู้ที่มีโอกาสชักชวนใคร ๆ ให้ทำตามที่บอก ค. ผู้นำคือบุคคลที่มีอำนาจอิทธิพลและมีความสามารถจูงใจ ง. ผู้นำคือหัวหน้าหรือผู้บริหารโดยตำแหน่งหน้าที่ 10. การได้รับตำแหน่งตามประเพณี ทั้งที่เป็นทางการและโดยธรรมชาติ คือคุณสมบัติข้อใด ก. ผู้นำตกทอด ข. ผู้นำที่เป็นทางการ ค. ผู้นำโดยธรรมชาติ ง. การได้มาซึ่งผู้นำ 11. ข้อความต่อไปนี้เป็นพฤติกรรมของผู้นำประเภทใด “ยอมรับฟังให้สมาชิกแสดงความคิดเห็น ทำตัวเสมอภาคกับสมาชิกทุกคน” ก. ผู้นำแบบอัตตาธิปไตย ข. ผู้นำแบบเผด็จการ ค. ผู้นำแบบประชาธิปไตย ง. ผู้นำแบบเสรีนิยม 12. ดำเนินตนแบบมีชีวิตชีวาและทนทานมีความสามารถในการตัดสินใจ จูงใจคนมีความรับผิดชอบ เฉลียวฉลาดด้วยปฏิภาณไหวพริบ คือคุณสมบัติของผู้ใดที่เหมาะสมที่สุด ก. คุณสมบัติของผู้นำ ข. คุณสมบัติของผู้บริหาร ค. คุณสมบัติของนักวางแผน ง. คุณสมบัติของนักต่อสู้ 13. การสร้างความเจริญก้าวหน้าให้กับกลุ่มการบริหารกลุ่ม การแนะนำให้ทำกิจกรรมต่าง ๆ และสร้างความรู้อันมั่นคงให้เกิดขึ้น คือหน้าที่โดยตรงของใคร ก. หน้าที่ของผู้บริหารที่ดี ข. หน้าที่ของผู้นำที่ดี ค. หน้าที่ของสถานประกอบการ ง. หน้าที่ของเจ้าของอุตสาหกรรม 14. ความวุ่นวายที่เกิดขึ้นในสังคมทุกภาคส่วนได้รับผลการบริหารจากผู้นำที่ขาดคุณสมบัติตามข้อใดมากที่สุด ก. ขาดความรู้ ข. ขาดประสบการณ์ ค. ขาดคุณธรรม ง. ขาดความกล้าหาญ 15. การรู้ถึงปัญหา ทำความกระจ่างในปัญหาการตั้งสมมติฐาน และทำการทดสอบคือกระบวนการของความขัดแย้ง ก. การแก้ปัญหาความขัดแย้ง ข. ผลเสียที่เกิดจากความขัดแย้ง ค. ความขัดแย้งที่เกิดขึ้นระหว่างกลุ่ม ง. ผลของการขัดแย้งที่ก่อให้เกิดประโยชน์ ตอนที่ 2 จงตอบคำถามต่อไปนี้ให้ได้ใจความสมบูรณ์ 1. การจัดสภาพแวดล้อมในการทำงาน และการสร้างความสัมพันธ์ระหว่างเพื่อนร่วมงาน คืออะไร มีลักษณะที่สำคัญอย่างไร จงอธิบาย ตอบ 2. ความเครียดส่งผลต่อการทำงานอย่างไร และเกิดจากสาเหตุอะไรบ้าง จงอธิบาย ตอบ 3. ท่านคิดว่าผู้นำคือใคร มีความสำคัญอย่างไร และมีที่มาของการครองอำนาจอย่างไร จงอธิบาย ตอบ 4.ผู้นำมีกี่ประเภท และท่านคิดว่าผู้นำประเภทใดที่ท่านชื่นชอบมากที่สุด เพราะเหตุใด จงอธิบาย ตอบ 5.ผู้นำที่ดีควรมีคุณสมบัติ และควรปฏิบัติหน้าที่ของผู้นำที่ดีได้อย่างไร จงอธิบาย ตอบ (ที่มา ดร.นิเวศน์ วงค์สุวรรณ์ วิชา จิตวิทยาอุตสาหกรรม สำนักพิมพ์ศูนย์ส่งเสริมวิชาการ) ตอนที่ 1 จงทำเครื่องหมายกากบาท () ลงหน้าข้อที่ถูกต้องที่สุด 1. ข้อความใดสอดคล้องกับความปลอดภัยและการลดอุบัติเหตุในการทำงานอุตสาหกรรม มากที่สุด ก. ความสนใจและรับผิดชอบ ข. การคิดออกแบบเครื่องมือเครื่องจักร ค. การจัดการอบรมเรื่องบทบาทหน้าที่ ง. การศึกษาข้อมูลของกรมแรงงานกระทรวงมหาดไทย 2. จากสถิติรายงานเฉลี่ยใน 5 ปี (2525–2526) อวัยวะที่ได้รับบาดเจ็บในงานอุตสาหกรรม มากที่สุด คือข้อใด ก. ตา ข. แขน ขา ค. มือและนิ้วเท้า ง. เท้าและนิ้วเท้า 3. อุบัติเหตุจากการทำงานในปี 2529 จากอุปกรณ์ในที่ทำงาน ข้อใดเกิดบ่อยที่สุด ก. ยานพาหนะชน ข. ของหนักหล่นทับ ค. ความร้อนกระแสไฟฟ้า ง. วัตถุหรือสิ่งของกระแทก 4. เมื่อมีอุบัติเหตุเกิดขึ้นจะก่อให้เกิดความเสียหายโดยตรงต่อข้อใดมากที่สุด ก. วัตถุดิบ ข. โรงงาน ค. เครื่องจักร ง. ปัจจัยการผลิต 5. อุบัติเหตุในงานอุตสาหกรรมที่เกิดขึ้นบ่อย ๆ เพราะบกพร่องในข้อใดมากที่สุด ก. เพราะประมาท ข. เพราะขาดความรู้ ค. เพราะขาดการฝึกอบรม ง. เพราะขาดความรับผิดชอบ 6. รัฐบาลทุกประเทศได้มีการออกกฎหมายด้านอุบัติเหตุและควบคุมสิ่งแวดล้อม เพื่ออะไรเป็นประการแรกสุด ก. เพื่อควบคุมอุบัติเหตุ ข. เพื่อลดอันตรายและอุบัติเหตุ ค. เพื่อให้เกิดความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน ง. เพื่อส่งเสริมสวัสดิการของคนงาน 7. การเกิดอุบัติเหตุในการทำงานแต่ละครั้ง ไม่ใช่เพราะโชคชะตาหรือเคราะห์กรรม หมายถึงข้อใด ก. ต้องมีสาเหตุ ข. ต้องมีผู้ทำผิด ค. ต้องมีการละทิ้งหน้าที่ ง. ต้องมีการกลั่นแกล้งเกิดขึ้น 8. จากข้อความที่ว่า “Safety is Everyone’s Responsibility” ตรงกับข้อใดมากที่สุด ก. ความปลอดภัยมิใช่การลงทุนที่สูญเปล่า ข. ความปลอดภัยสามารถแสดงผลตอบแทนได้ ค. ความปลอดภัยมิใช่หน้าที่ใครคนใดคนหนึ่ง ง. ความปลอดภัยเป็นความรับผิดชอบของผู้บริหาร 9. การพิจารณาถึงความแตกต่างของอุบัติเหตุ ที่เกิดขึ้นแต่ละชนิด คือกระบวนการตามข้อใด ก. การเรียนรู้เรื่องความปลอดภัย ข. การฝึกอบรมเพื่อความปลอดภัย ค. เทคนิคการฝึกอบรมเพื่อความปลอดภัย ง. ความหมายของอุบัติเหตุและความปลอดภัย 10. วิธีการฝึกอบรมที่เหมาะสม เช่น การบรรยาย การประชุมกลุ่ม การอภิปราย การใช้เครื่องมือโสตทัศนูปกรณ์ คือวัตถุประสงค์ข้อใด ก. ทักษะ ข. ความรู้ ค. ค่านิยม ง. ความตั้งใจ 11. การแสดงเกมบริหาร การแสดงบทบาทสมมติ การศึกษากรณีตัวอย่าง บุคคลตัวอย่าง และ การให้คำปรึกษา คือวัตถุประสงค์ข้อใด ก. ความรู้ ข. ค่านิยม ค. ทัศนคติ ง. ความสนใจ 12. การฝึกอบรมที่เก่าแก่ และใช้กันแพร่หลายที่สุดวิธีหนึ่ง ไม่ว่าจะเป็นการฝึกอบรมประเภทใด คือข้อใด ก. การฝึกปฏิบัติ ข. การอภิปราย ค. กรณีตัวอย่าง ง. การบรรยาย 13. การวิเคราะห์สาเหตุอุบัติเหตุในงานอุตสาหกรรมในประเด็นที่ว่า สภาพการณ์ ที่ไม่ปลอดภัยของคนงาน คือข้อใด ก. Unsafe acts ข. Unsafe condition ค. Unsafe control ง. Unsafe working 14. การกระทำที่ไม่ปลอดภัยของบุคคล เช่น ใช้เครื่องมือไม่ถูกต้อง มีความประพฤติ ที่ไม่เหมาะสม คือข้อใด ก. Unsafe acts ข. Unsafe condition ค. Unsafe control ง. Unsafe working 15. นักจิตวิทยาอุตสาหกรรมและวิศวกรรมและวิศวกรรม จะทำการวิเคราะห์สภาพงาน ออกแบบเครื่องมือเครื่องจักร เพื่อประเด็นใด ก. เพื่อการฝึกอบรม ข. เพื่อส่งเสริมความรู้ ค. เพื่อลดอุบัติเหตุในที่ทำงาน ง. เพื่อขยายขอบข่ายการปฏิบัติการ ตอนที่ 2 จงตอบคำถามต่อไปนี้ให้ได้ใจความสมบูรณ์ 1. อุบัติเหตุคืออะไร และมีสาเหตุมาจากอะไรบ้าง จงอธิบาย ตอบ 2. ความปลอดภัยในการทำงาน หมายถึงอะไร มีความสำคัญอย่างไร จงอธิบาย ตอบ 3. การเรียนรู้ในด้านความปลอดภัย มีกี่วิธี อะไรบ้าง จงอธิบาย ตอบ 4.การอภิปรายโดยคณะผู้เชี่ยวชาญ หมายถึงอะไรบ้าง มีประโยชน์อย่างไร จงอธิบาย ตอบ 5.การป้องกันอุบัติเหตุในการทำงาน หมายถึงอะไร มีวิธีอย่างไรบ้าง จงอธิบาย ตอบ (ที่มา ดร.นิเวศน์ วงค์สุวรรณ์ วิชา จิตวิทยาอุตสาหกรรม สำนักพิมพ์ศูนย์ส่งเสริมวิชาการ กรุงเทพมหานคร)