วันจันทร์ที่ 6 มิถุนายน พ.ศ. 2554

ประมวลการสอนวิชาจิตวิทยาอุตสาหกรรม STU


วิทยาลัยเทคโนโลยีสยาม

ประมวลการสอน (Course Syllabus)

           รายวิชา   จิตวิทยาอุตสาหกรรม   รหัส   902-103

            (ชื่อวิชาภาษาอังกฤษ   Industrial   Psychology)

           คณะ           เทคโนโลยี

          สาขาวิชา     เทคโนโลยียานยนต์
                              เทคโนโลยีไฟฟ้า
                              เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์

          ผู้สอน   อาจารย์ กิจสดายุทต์   สังข์ทอง





วิทยาลัยเทคโนโลยีสยาม
ประมวลการสอนรายวิชาประจำภาคการศึกษาที่ 1/2554


ระดับการศึกษา            ปริญญาตรี
รายวิชา                         902 - 103  จิตวิทยาอุตสาหกรรม( Industrial   Psychology)
หน่วยกิต                   3 (3-0)               
วิชาบังคับก่อน            -    
ผู้สอน                            อ. กิจสดายุทต์    สังข์ทอง
ห้องเรียน                      ห้อง  9603 เวลา  13.30 – 16.00 น.
                                        ห้อง 9604 เวลา 16.50 – 18.50 น.
คำอธิบายรายวิชา      ศึกษาเกี่ยวกับการประยุกต์จิตวิทยาในองค์การอุตสาหกรรม   ประสิทธิภาพของ 
                               การทำงาน  ความพึงพอใจในการทำงาน  เทคนิคและวิธีการติดต่อสื่อสาร 
                               การพัฒนาบุคลากร  การบำรุงรักษาทรัพยากรบุคคล  การจัดสภาพแวดล้อมใน 
                               การทำงาน อุบัติเหตุและความปลอดภัยในการทำงาน  การศึกษาอุตสาหกรรม
                               อย่างมีจริยธรรมแบบสัมมาชีพ
วัตถุประสงค์       
                      เพื่อให้นักศึกษา
        1.  เพื่อช่วยให้ผู้เรียนมีความรู้ความเข้าใจและความเป็นมาของทฤษฎีเกี่ยวกับ   
             จิตวิทยาอุตสาหกรรม และมีประสิทธิภาพในการทำงาน
2. เพื่อช่วยให้ผู้เรียนได้มีทักษะความชำนาญเกิดความพึงพอใจ และมีเทคนิค วิธีสื่อสารในองค์การอุตสาหกรรม
3. เพื่อช่วยให้ผู้เรียนได้ศึกษาทรัพยากรบุคคล  และการบำรุงรักษาทรัพยากร 
              บุคคลในองค์การอุตสาหกรรม
4. เพื่อช่วยให้ผู้เรียนสามารถเรียนรู้การจัดสภาพแวดล้อมในที่ทำงาน และลด อุบัติ เหตุได้อย่างได้อย่างถูกต้อง
              5.  เพื่อช่วยให้ผู้เรียนรู้จักรักษาความปลอดภัย มีคุณธรรม มีความรับผิดชอบ 
                    ต่อตนเองสังคมอย่างต่อเนื่องยิ่งๆขึ้นไปในการทำงานและการศึกษาอุตสาหกรรม
 วัตถุประสงค์เชิงคุณธรรม  (Moral  Objectives )
- สามารถทำงานในองค์การอุตสาหกรรมและการดำเนินชีวิตอย่างมีความสุขได้ด้วยความซื่อสัตย์สุจริต


แผนการสอน

สัปดาห์ที่/วันที่

หัวข้อการเรียนรู้

กิจกรรมการเรียนการสอน
            1
8 มิ.ย.54

11 มิ.ย.54

- แนะนำวิชา และ อธิบายถึงโครงสร้างของวิชา
- บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับจิตวิทยาอุตสาหกรรม
- ลักษณะและความสำคัญของจิตวิทยาอุตสาหกรรม
- วิธีการศึกษาทางจิตวิทยา
- สาขาของจิตวิทยา
- คำถามท้ายบท


อธิบายพร้อมยกตัวอย่างประกอบ
- การบรรยาย
- การเรียนการสอนที่ผู้เรียนมี
   ส่วนร่วมโดย ให้ผู้เรียนได้
   ศึกษาจากเอกสาร ตำรา
  วารสาร  รวมทั้งแสดงความคิดเห็นใน 
   หัวข้อที่กำหนด


2
15 มิ.ย.54

18 มิ.ย.54

- แนวทางการศึกษาของนักจิตวิทยาที่สำคัญ
- ความหมายของจิตวิทยาอุตสาหกรรม
- ประวัติจิตวิทยาอุตสาหกรรม
- แนวความคิดหลักของนักจิตวิทยาอุตสาหกรรม
- หน้าที่ของนักจิตวิทยาอุตสาหกรรม
- คำถามท้ายบท

3
22 มิ.ย.54
25 มิ.ย.54

บทที่ 2 การประยุกต์จิตวิทยาในองค์การอุตสาหกรรม
- มนุษย์และสังคมมนุษย์ในฐานะนักสังคมวิทยา
- ความหมายของมนุษย์ในองค์การอุตสาหกรรม
- ประโยชน์ของการศึกษาสังคมมนุษย์
- กำเนิดมนุษย์
- คำถามท้ายบท




อธิบายพร้อมยกตัวอย่างประกอบ
- การบรรยาย
- การเรียนการสอนที่ผู้เรียนมี
   ส่วนร่วมโดย ให้ผู้เรียนได้
   ศึกษาจากเอกสาร ตำรา
  รวมทั้งแสดงความคิดเห็น
  ในหัวข้อที่กำหนด

4
    29 มิ.ย.54

    2 ก.ค. 54
- ธรรมชาติมนุษย์
- โครงสร้างมนุษย์
- หน้าที่ของมนุษย์ในองค์การอุตสาหกรรม
- ความต้องการของมนุษย์ในองค์การอุตสาหกรรม
- คำถามท้ายบท

5

   6 ก.ค. 54

   9  ก.ค. 54
บทที่ 3 ประสิทธิภาพของการทำงานอุตสาหกรรม
- ความแตกต่างระหว่างบุคคล
- การถ่ายทอดทางกรรมพันธุ์
- ลักษณะที่ถ่ายทอดทางกรรมพันธุ์
- ความแตกต่างระหว่างบุคคลจากกรรมพันธุ์
- ความแตกต่างระหว่างบุคคลจากสิ่งแวดล้อม
- คำถามท้ายบท
อธิบายพร้อมยกตัวอย่างประกอบ
- การบรรยาย
- การเรียนการสอนที่ผู้เรียนมี
   ส่วนร่วมโดย ให้ผู้เรียนได้
   ศึกษาจากเอกสาร ตำรา
6
   13  ก.ค. 54
   16  ก.ค. 54
บทที่ 4 ความพึงพอใจในการทำงาน
- บุคลิกภาพ
- ทฤษฎีบุคลิกภาพ
- การประเมินบุคลิกภาพ     - คำถามท้ายบท

-ให้นักศึกษาแสดงความคิดเห็น
  ในหัวข้อที่กำหนด
-แบ่งกลุ่มย่อย หัวข้อรายงาน


ครั้งที่
หัวข้อการเรียนรู้
กิจกรรมการเรียนการสอน

7
   
   20  ก.ค. 54

   23  ก.ค. 54

บทที่ 4 ความพึงพอใจในการทำงาน
- บุคลิกภาพที่ดี
- บุคลิกภาพที่ไม่ดี
- การพัฒนาบุคลิกภาพ
- ทบทวนเนื้อหาก่อนสอบกลางภาค
อธิบายพร้อมยกตัวอย่างประกอบ
- การบรรยาย
- การเรียนการสอนที่ผู้เรียนมี
   ส่วนร่วมโดย ให้ผู้เรียนได้
   ศึกษาจากเอกสาร ตำรา
  รวมทั้งแสดงความคิดเห็น
  ในหัวข้อที่กำหนด
-สรุปบทเรียน
- Test 1 = 10 คะแนน
8
      สอบกลางภาค  ( 26 – 30 ก.ค.  2554 )
เนื้อหาครั้งที่ 1-7  (บทที่ 1 4 )

9

3 ส.ค. 54
6 ส.ค. 54

บทที่ 5 เทคนิคและวิธีการติดต่อสื่อสาร
- ความหมายของการสื่อสาร
- ความหมายของการจูงใจ
- ทฤษฎีการจูงใจ
- คำถามท้ายบท

อธิบายพร้อมยกตัวอย่างประกอบ
- การบรรยาย
- การเรียนการสอนที่ผู้เรียนมี
   ส่วนร่วมโดย ให้ผู้เรียนได้
   ศึกษาจากเอกสาร ตำรา
  รวมทั้งแสดงความคิดเห็น
  ในหัวข้อที่กำหนด
- การอภิปรายกลุ่มย่อย ( Small Group Discuss)หน้าชั้นเรียน
10
10 ส.ค. 54
    13 ส.ค. 54

- รูปแบบการสื่อสารเพื่อการจูงใจ
- ความพึงพอใจในงานอุตสาหกรรม
- คำถามท้ายบท
- สิ่งเสริมแรงและการลงโทษ
- สิ่งล่อใจและประเภทของสิ่งล่อใจ
- คำถามท้ายบท

11
17 ส.ค. 54
20 ส.ค. 54


บทที่ 6 การพัฒนาและการบำรุงขวัญบุคลากร
- ความหมายของการพัฒนา
- ความหมายของขวัญในงานอุตสาหกรรม
- สิ่งที่เป็นตัวกำหนดขวัญ    - คำถามท้ายบท

อธิบายพร้อมยกตัวอย่างประกอบ
- การบรรยาย
- การเรียนการสอนที่ผู้เรียนมี
   ส่วนร่วมโดย ให้ผู้เรียนได้แสดง
   ความคิดเห็น
- การอภิปรายกลุ่มย่อย ( Small Group Discuss)หน้าชั้นเรียน
12
24 ส.ค. 54
    27 ส.ค. 54

- ลักษณะของพนักงานที่มีขวัญที่ดีและไม่ดี
- การประเมินขวัญบุคลากรในการทำงาน
- การเพิ่มขวัญบุคลากรในการทำงาน
- คำถามท้ายบท

 -  ศึกษาจากเอกสาร ตำรา
  รวมทั้งนักศึกษาแสดงความคิดเห็น
  ในหัวข้อที่กำหนด
- การอภิปรายกลุ่มย่อย ( Small Group Discuss)หน้าชั้นเรียน

ครั้งที่
หัวข้อการเรียนรู้
กิจกรรมการเรียนการสอน
13
31 ส.ค. 54
     3 ก.ย. 54


บทที่ 7 การจัดสภาพแวดล้อมในการทำงาน
- ความหมายของการจัดสภาพแวดล้อมในการทำงาน
- ความหมายของผู้นำ
- บทบาทของความเป็นผู้นำ
- ทฤษฎีความเป็นผู้นำ
- คุณธรรมของผู้นำ
- คำถามท้ายบท
อธิบายพร้อมยกตัวอย่างประกอบ
- การบรรยาย
- การเรียนการสอนที่ผู้เรียนมี
   ส่วนร่วมโดย ให้ผู้เรียนได้
   ศึกษาจากเอกสาร ตำรา
  รวมทั้งแสดงความคิดเห็น
  ในหัวข้อที่กำหนด
- การอภิปรายกลุ่มย่อย ( Small Group Discuss)หน้าชั้นเรียน

14
   7 ก.ย. 54

  10 ก.ย. 54


-รูปแบบของความเป็นผู้นำ
- ความแตกต่างระหว่างผู้นำในกลุ่มต่าง ๆ
- การพัฒนาคุณลักษณะของผู้นำที่ดี
- ความหมายของทีมงาน
- ประโยชน์ของทีมงาน
- ความขัดแย้ง
- คำถามท้ายบท
15

   14 ก.ย. 54


  17 ก.ย. 54


บทที่ 8 อุบัติเหตุและความปลอดภัยในการทำงาน
- ความหมายของอุบัติเหตุและความปลอดภัย
- การเรียนรู้เรื่องความปลอดภัย
- การฝึกอบรมเพื่อความปลอดภัย
- เทคนิคการฝึกอบรมเพื่อความปลอดภัย
- คำถามท้ายบท

อธิบายพร้อมยกตัวอย่างประกอบ
- การบรรยาย
- การเรียนการสอนที่ผู้เรียนมี
   ส่วนร่วมโดย ให้ผู้เรียนได้
   ศึกษาจากเอกสาร ตำรา
  รวมทั้งแสดงความคิดเห็น
  ในหัวข้อที่กำหนด
- การอภิปรายกลุ่มย่อย ( Small Group Discuss)หน้าชั้นเรียน
-สรุปบทเรียน

16
   21 ก.ย. 54

   24 ก.ย. 54

- การป้องกันอุบัติเหตุในการทำงาน
- การวิเคราะห์สาเหตุอุบัติเหตุในงานอุตสาหกรรม
- การฝึกอบรมเพื่อลดอุบัติเหตุในที่ทำงาน
- ทบทวนเนื้อหาก่อนสอบปลายภาค
      17
สอบปลายภาค
      27 กันยายน – 1  ตุลาคม พ.ศ.  2554
     เนื้อหาครั้งที่  9-17
      (บทที่ 5 8 )

สื่อประกอบการเรียนการสอน
1.        เอกสารประกอบการสอน
2.        Power  Point / ข่าว- สาร จากวารสารต่าง ๆ / โปรเจ็คเตอร์
การวัดผลและประเมินผลการเรียน
                              จิตพิสัย                            10          คะแนน
                            แบบฝึกหัด                       10           คะแนน
                            รายงาน                            10          คะแนน
                            ทดสอบ                            10         คะแนน
                                สอบกลางภาคเรียน             30           คะแนน
                                สอบปลายภาคเรียน            30           คะแนน

การประเมินผลการเรียน  ให้นักศึกษาแสดงความคิดเห็นและเลือกว่าจะใช้แบบใดในการตัดเกรดเป็นสำคัญ
                                     ใช้วิธี อิงเกณฑ์ค่าระดับคะแนน  กำหนดค่าระดับคะแนนร้อยละตามเกณฑ์   ดังนี้
                                              คะแนนร้อยละ   80  ขึ้นไป         ได้      เกรด       A
                                              คะแนนร้อยละ   75 - 79             ได้       เกรด       B 
                                              คะแนนร้อยละ   70 - 74             ได้       เกรด       B
                                              คะแนนร้อยละ   65 - 69             ได้       เกรด       C
                                              คะแนนร้อยละ   60 – 64             ได้       เกรด       C
                                              คะแนนร้อยละ   55 - 59              ได้       เกรด       D
                                               คะแนนร้อยละ  50 -  54             ได้       เกรด       D
                                              คะแนนร้อยละ     0  - 49             ได้       เกรด       F
                                                                                      หรือ
-          ใช้วิธี Normalized T- Score (เกณฑ์คะแนนมาตรฐานและ T- Score ร่วมกัน)  
เงื่อนไขรายวิชา (ถ้ามี) เช่น การแต่งกาย เวลาในการขาดเรียน
    1. นักศึกษาจะต้องมีความตรงต่อเวลา และห้ามเข้าชั้นเรียนสายเกิน  15 นาที เว้นแต่มีเหตุสุดวิสัย
    (จะต้องมีร่องรอยหลักฐานมาแสดง) หากเข้าชั้นเรียนสายเกิน 15  นาที่ ถือว่าขาดเรียนในคาบนั้นๆ
   2. ถ้านักศึกษา ขาดเรียนเกินกำหนด (3 ครั้ง) โดยไม่มีเหตุจำเป็น และไม่มีใบรับรองแพทย์หรือ 
       ผู้ปกครอง ให้เป็นไปตามเงื่อนไขการประเมินผล
หนังสือและเอกสารอ้างอิง
1. รศ.อำนวย   แสงสว่าง   จิตวิทยาอุตสาหกรรม  (Industrial  Psychology)  กรุงเทพมหานครโรงพิมพ์ หจก. ทิพยวิสุทธิ์  2544
2. รศ.ดร.ปรียาพร วงค์อนุตรโรจน์  จิตวิทยาอุตสาหกรรม  กรุงเทพมหานคร พิมพ์ บริษัทพิมพ์ดีจำกัด 2543
3. ศ.ดร.ธีรวุฒิ  บุณยโสภณ  จิตวิทยาอุตสาหกรรมประยุกต์  กรุงเทพมหานคร  สำนักพิมพ์  สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ 
4. พระธรรมปิฎก  พัฒนาคุณภาพชีวิตด้วยจิตวิทยาแบบยังยืน  กรุงเทพมหานคร  โรงพิมพ์  บริษัท  สหธรรมมิก  จำกัด  2537
5. ดร.ดำรงศักดิ์  หมื่นจักร์  และดร.ศรีสง่า   กรรณสูตร  จิตวิทยาธุรกิจ (จิตวิทยากับอุตสาหกรรม)  กรุงเทพมหานคร  โรงพิมพ์  หจก. มณฑลการพิมพ์
6. รศ.นพคุณ นิสามณี จิตวิทยาอุตสาหกรรม กรุงเทพมหานคร  สำนักพิมพ์ ศูนย์ผลิตตำราเรียน สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ 
7.  พงษ์จันทร์ ภูษาพานิชย์  จิตวิทยาอุตสาหกรรมและองค์การเชียงใหม่  มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
8. ดร.สุรพล พยอมแย้ม จิตวิทยาอุตสาหกรรมกรุงเทพมหานคร  พิมพ์ที่โครงการส่งเสริมผลิตตำราและเอกสารการสอน คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิปกร
9. McCormick,Ernest J.,llgen, Daniel R., Industrial Psychology., New Jersy:Prentice Hall.,Inc.,1980.
10. Deci,E.L.,Methods for the study of behavior in organization,In Gilmer, B.V.H and Deci,E.L.(eds.)Industrial and Organizational Psychology, McGraw-Hill  Book Co., NewYork,1977,pp.25-36.

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น